วันพุธที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2555

แหล่งการเรียนรู้

พิพิทธภัณฑสถานแห่งชาติ

แหล่งการเรียนรู้ : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
เปิดให้เข้าชม วันพุธ-วันอาทิตย์  เวลา 09.00น - 16.00น
สถานที่ตั้ง : ตั้งอยู่ในบริเวณพระราชวังบวรสถานมงคล หรือส่วนหนึ่งของที่ประทับวังหน้า (พื้นที่พระราชวังของสมเด็จพระบวรราชเจ้าตั้งแต่รัชกาลที่ 1 เป็น ต้นมามีอาณาเขตตั้งแต่บริเวณมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สนามหลวงตอนเหนือ อนุสาวรีย์ทหารอาสา และโรงละครแห่งชาติในปัจจุบัน) ในสมัยรัชกาลที่ 1 ตั้ง อยู่ที่ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และโรงละครแห่งชาติ ตรงข้ามสนามหลวง ประกอบด้วยหมู่พระที่นั่งต่าง ๆ








 
 
ประวัติความเป็นมา : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในประเทศไทยมีประวัติและพัฒนาการมายาวนานนับพันปี ตั้งแต่สมัยกรีก โรมัน โดยเริ่มจากพิพิธภัณฑสถานในพระราชวังและส่วนบุคคล แล้วมีพัฒนาการด้านความเจริญก้าวหน้าและแผ่ขยายไปในประเทศต่างๆ  ปัจจุบัน สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ " ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้มีพระราชกฤษฏีกาการแบ่งส่วนราชการของกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ขึ้น โดย สำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติได้แยกออกมาจากสำนักโบราณคดี เป็น "สำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ" ขึ้นตรงต่อกรมศิลปากรกระทรวงวัฒนธรรม  และเปิดให้บุคคลทั่วไปเข้าชม เพื่อศึกษาถึงเรื่องราวและความเป็นมาต่างๆ ในประวัติศาสตร์
 
 
 
 
 
 
องที่จัดแสดง :
แนวทางการจัดแสดง ปัจจุบัน พิพิธภัณสถานแห่งชาติ พระนคร แบ่งการจัดแสดง ออกเป็น 3 หัวเรื่องใหญ่ ๆ คือ
1.ประวัติศาสตร์ชาติไทย จัดแสดงในพระที่นั่งศิวโมกขพิมาน
2.ประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีในประเทศไทย จัดแสดงตามยุคสมัย คือ
    - สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จัดแสดงในอาคารส่วนหลัง ของ พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน

    - สมัยประวัติศาสตร์ จัดแสดงในอาคารใหม่ 2หลัง ที่สร้างขนาบสองข้างของหมู่วิมานเมื่อ พ.ศ. 2510 โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ สมัยก่อนพุทธศักราช 1800 ได้แก่ สมัยทวารวดี สมัยศรีวิชัย และ สมัยลพบุรีจัดแสดงในอาคารมหาสุรสิงหนาท และส่วนที่ 2 คือ สมัยหลังพุทธศักราช 1800 เป็นต้นมา จนถึง สมัยรัตนโกสินทร์จัดแสดงในอาคารประพาสพิพิธภัณฑ์

3.ประณีต ศิลป์ และ ชาติพันธุ์วิทยา จัดแสดงในหมู่พระวิมาน คือ พระที่นั่งวสันตพิมาน พระที่นั่งวายุสถานอมเรศ และ พระที่นั่งพรหมเมศธาดา ศิลปโบราณวัตถุที่จัดแสดง ได้แก่ เครื่องทอง เครื่องถม เครื่องมุก เครื่องดนตรี เครื่องไม้จำหลัก ผ้าโบราณ เครื่องถ้วย 
                        นอกจากศิลปะโบราณวัตถุแล้ว พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ยังมีโบราณสถานคือ พระที่นั่ง และ พระตำหนักบางองค์ ที่เป็นตัวอย่างของ งานสถาปัตยกรรมไทยที่งดงาม เช่น พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ ภายในพระที่นั่งประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ และมีจิตรกรรมฝาผนังฯลฯ

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 สื่อที่ใช้ในการจัดแสดง : วัตถุโบราณ,รูปหล่อและรูปปั้นจำลอง,เนื้อหาประวัติความเป็นมา,เสียงที่บันทึกเพื่อบรรยายประกอบการชม,วิดิทัศน์
โดย แหล่งการเรียนรู้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นี้เหมาะแก่การเรียนรู้และนำไปใช้ในการเรียนการสอนในรายวิชา ประวัติศาสตร์  ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลายได้
 
 
 
 
 
 

 
 
 
 
 
 
 
 


 
 
 
 
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม :  พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ พระนคร เป็นพิพิธภัณฑ์ที่ให้ความรู้ในเรื่องของประวัติศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น ด้านศาสนา,วัฒนธรรม,การปกครอง,วิถีชีวิตของคนในยุคต่างๆ เราควรที่จะศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมด้วยก่อนจะไปศึกษาสถานที่จริงเพราะอาจมีการเปลี่ยนแปลง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

วันอังคารที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2555

สังเกตการสอนโรงเรียน วัดไผ่ตัน   


นัีกเรียนชั้นมัธทยมศึกษาปีที่ 1 /2




ประวัติโรงเรียน 

โรงเรียนวัดไผ่ตัน ตั้งอยู่เลขที่ 64/1 ซอยพหลโยธิน 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร เปิดทำการสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2476  โดยใช้ศาลาการเปรียญของวัดไผ่ตันเป็นสถานที่เรียน  




สื่อการสอนที่ใช้ 

-เมโลเดียน
-กระดาน
-วีดีโอ







ประโยชน์

-ทำให้เด็กสามารถปฎิบัติเครื่องดนตรีได้
-ทำให้เด็กเกิดทักษะการเล่นดนตรี
-การดูวีดีโอสามารถทำมให้เด็กเห็นภาพการเล่นดนตรี และ การฟังเสียงที่ถูกต้อง 



อุปสรรคและปัญหา

-เีครื่องดนตรีไม่เพียงพอ
-ขนาดที่ทำการฝึกซ้อมคับแคบ
เด็กไม่ค่อยมีสมาธิ
ข้อเสนอแนะ
-ควรจัดสถานที่ซ้อมดนตรีให้กว้างกว่านี้























นวัตกรรมทางการศึกษา



 E-learning
ความหมาย e-Learning เป็นคำที่ใช้เรียกเทคโนโลยีการศึกษาแบบใหม่ ที่ยังไม่มีชื่อภาษาไทยที่แน่ชัด และมีผู้นิยามความหมายไว้หลายประการ ผศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง ให้คำนิยาม E-Learning หรือ Electronic Learning ว่า หมายถึง “การเรียนผ่านทางสื่ออิเลคทรอนิกส์ซึ่งใช้การ นำเสนอเนื้อหาทางคอมพิวเตอร์ในรูปของสื่อมัลติมีเดียได้แก่ ข้อความอิเลคทรอนิกส์ ภาพนิ่ง ภาพกราฟิก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติฯลฯ”เช่นเดียวกับ คุณธิดาทิตย์ จันคนา ที่ให้ความ หมายของ e-learning ่าหมายถึงการศึกษาที่เรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เนตโดยผู้เรียนรู้จะเรียนรู้ ด้วยตัวเอง ารเรียนรู้จะเป็นไปตามปัจจัยภายใต้ทฤษฎีแห่งการเรียนรู้สองประการคือ เรียนตามความรู้ความสามารถของผู้เรียนเอง และ การตอบสนองใน ความแตกต่างระหว่างบุคคล(เวลาที่แต่ละบุคคลใช้ในการเรียนรู้)การเรียนจะกระทำผ่านสื่อบนเครือข่ายอินเตอร์เนต โดยผู้สอนจะนำเสนอข้อมูลความรู้ให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาผ่านบริการ World Wide Web หรือเวปไซด์ โดยอาจให้มีปฏิสัมพันธ์ (สนทนา โต้ตอบ ส่งข่าวสาร) ระหว่างกัน จะที่มีการ เรียนรู้ ู้ในสามรูปแบบคือ ผู้สอนกับ ผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียนอีกคนหนึ่ง หรือผู้เรียนหนึ่งคนกับกลุ่มของผู้เรียน ปฏิสัมพันธ์นี้สามารถ กระทำ ผ่านเครื่องมือสองลักษณะคือ
1) แบบ Real-time ได้แก่การสนทนาในลักษณะของการพิมพ์ข้อความแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน หรือ ส่งในลักษณะของเสียง จากบริการของ Chat room
2) แบบ Non real-time ได้แก่การส่งข้อความถึงกันผ่านทางบริการ อิเลคทรอนิคเมลล์ WebBoard News-group เป็นต้น
ความหมายของ e-Learning ที่มีปรากฏอยู่ในส่วนคำถามที่ถูกถามบ่อย (Frequently Asked Question : FAQ) ในเวป www.elearningshowcase.com ให้นิยามว่า e-Learning มีความหมาย เดียวกับ Technology-based Learning นั้นคือการศึกษาที่อาศัยเทคโนโลยีมาเป็นส่วนประกอบที่ สำคัญ ความหมายของ e-Learning ครอบคลุมกว้างรวมไปถึงระบบโปรแกรม และขบวนการที่ ดำเนินการ ตลอดจนถึงการศึกษาที่ใช้ ้คอมพิวเตอร์เป็นหลักการศึกษาที่อาศัยWebเป็นเครื่องมือหลักการศึกษาจากห้องเรียนเสมือนจริง และการศึกษาที่ใช้ การทำงานร่วมกันของอุปกรณ์อิเลค ทรอนิค ระบบดิจิตอล ความหมายเหล่านี้มาจากลักษณะของการส่งเนื้อหาของบทเรียนผ่านทาง อุปกรณ ์อิเลคทรอนิค ซึ่งรวมทั้งจากในระบบอินเตอร์เนต ระบบเครือข่ายภายใน (Intranets) การ ถ่ายทอดผ่านสัญญาณทีวี และการใช้ซีดีรอม อย่างไรก็ตาม e-Learning จะมีความหมายในขอบเขต ที่แคบกว่าการศึกษาแบบทางไกล (Long distance learning) ซึ่งจะรวมการเรียนโดยอาศัยการส่ง ข้อความหรือเอกสารระหว่างกันและชั้นเรียนจะเกิดขึ้นในขณะที่มีการเขียนข้อความส่งถึงกัน การนิยามความหมายแก่ e-learning Technology-based learning และ Web-based Learning ยังมี ความแตกต่างกัน ตามแต่องค์กร บุคคลและกลุ่มบุคคลแต่ละแห่งจะให้ความหมาย และคาดกันว่าคำ ว่าe-Learning ที่มีการใช้มาตั้งแต่ปี คศ. 1998 ในที่สุดก็จะเปลี่ยนไปเ ป็น e-Learning เหมือนอย่าง กับที่มีเปลี่ยนแปลงคำเรียกของ e-Business
เมื่อกล่าวถึงการเรียนแบบ Online Learning หรือ Web-based Learning ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของ Technology-based Learning nี่มีการเรียนการสอนผ่านระบบอินเตอร์เนต อินทราเนต และ เอ็ซทราเนต (Extranet) พบว่าจะมีระดับ การจัดการที่แตกต่างกันออกไป Online Learning ปกติจะ ประกอบด้วยบทเรียนที่มีข้อความและรูปภาพ แบบฝึกหัดแบบทดสอบ และบันทึกการเรียน อาทิ คะแนนผลการทดสอบ(test score) และบันทึกความก้าวหน้าของการเรียน(bookmarks) แต่ถ้าเป็น Online Learning ที่สูงขึ้นอีกระดับหนึ่ง โปรแกรมของการเรียนจะประกอบด้วยภาพเคลื่อนไหว แบบ จำลอง สื่อที่เป็นเสียง ภาพจากวิดีโอ กลุ่มสนทนาทั้งในระดับเดียวกันหรือในระดับผู้รู้ ผู้มีประสบการณ์ ที่ปรึกษาแบบออนไลน์ (Online Mentoring) จุดเชื่อมโยงไปยังเอกสารอ้างอิงที่มีอยู่ ในบริการของเวป และการสื่อสารกับระบบที่บันทึกผลการเรียน เป็นต้น
การเรียนรู้แบบออนไลน์หรือ e-learning การศึกษาเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต(Internet) หรืออินทราเน็ต(Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตาม ความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพเสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน Web Browser โดยผู้เรียน ผู้สอน และ เพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับ การเรียนในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อ สื่อสารที่ทันสมัย(e-mail, web-board, chat) จึงเป็นการเรียนสำหรับทุกคน, เรียนได้ทุกเวลา และทุกสถานที่ (Learn for all : anyone, anywhere and anytime)

แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา

ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลอย่างมาก ต่อวิธีการศึกษา ได้แก่แนวความคิดพื้นฐานทางการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงไป อันมีผลทำให้เกิดนวัตกรรมการศึกษาที่สำคัญๆ พอจะสรุปได้4 ประการ คือ1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ให้ความสำคัญในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไว้อย่างชัดเจนซึ่งจะเห็นได้จากแผนการศึกษาของชาติ ให้มุ่งจัดการศึกษาตามความถนัดความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนได้แก่ การจัดระบบห้องเรียนโดยใช้อายุเป็นเกณฑ์บ้าง ใช้ความสามารถเป็นเกณฑ์บ้าง นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อสนองแนวความคิดพื้นฐานนี้ เช่น- แบบเรียนสำเร็จรูป (Programmed Text Book)- เครื่องสอน (Teaching Machine)- การสอนเป็นคณะ (TeamTeaching)- การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)- เครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction)- ศูนย์การเรียน (Learning Center)- การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)- การปรับปรุงการสอนสามชั้น (Instructional Development in 3 Phases)- มหาวิทยาลัยเปิด (Open University)- แบบเรียนสำเร็จรูป (Programmed Text Book)- การเรียนทางไปรษณีย์- การเรียนทางวิทยุ การเรียนทางโทรทัศน์- การเรียนทางไปรษณีย์ แบบเรียนสำเร็จรูป- ชุดการเรียน- การเรียนแบบไม่แบ่งชั้น (Non-Graded School)2. ความพร้อม (Readiness) เดิมทีเดียวเชื่อกันว่า เด็กจะเริ่มเรียนได้ก็ต้องมีความพร้อมซึ่งเป็นพัฒนาการตามธรรมชาติ แต่ในปัจจุบันการวิจัยทางด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ ชี้ให้เห็นว่าความพร้อมในการเรียนเป็นสิ่งที่สร้างขึ้นได้ ถ้าหากสามารถจัดบทเรียน ให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาที่เคยเชื่อกันว่ายาก และไม่เหมาะสมสำหรับเด็กเล็กก็สามารถนำมาให้ศึกษาได้ นวัตกรรมที่ตอบสนองแนวความคิดพื้นฐานนี้ได้แก่ ศูนย์การเรียน การจัดโรงเรียนในโรงเรียน นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพื้นฐานด้านนี้ เช่น3. การใช้เวลาเพื่อการศึกษา แต่เดิมมาการจัดเวลาเพื่อการสอน หรือตารางสอนมักจะจัดโดยอาศัยความสะดวกเป็นเกณฑ์ เช่น ถือหน่วยเวลาเป็นชั่วโมง เท่ากันทุกวิชา ทุกวันนอกจากนั้นก็ยังจัดเวลาเรียนเอาไว้แน่นอนเป็นภาคเรียน เป็นปี ในปัจจุบันได้มีความคิดในการจัดเป็นหน่วยเวลาสอนให้สัมพันธ์กับลักษณะของแต่ละวิชาซึ่งจะใช้เวลาไม่เท่ากัน บางวิชาอาจใช้ช่วงสั้นๆ แต่สอนบ่อยครั้ง การเรียนก็ไม่จำกัดอยู่แต่เฉพาะในโรงเรียนเท่านั้น นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพื้นฐานด้านนี้ เช่น- การจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น (Flexible Scheduling)4. ประสิทธิภาพในการเรียน การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทำให้มีสิ่งต่างๆ ที่คนจะต้องเรียนรู้เพิ่มขึ้นมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอจึงจำเป็นต้องแสวงหาวิธีการใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ทั้งในด้านปัจจัยเกี่ยวกับตัวผู้เรียน และปัจจัยภายนอก นวัตกรรมในด้านนี้ที่เกิดขึ้น เช่น- มหาวิทยาลัยเปิด

นวัตกรรมทางการศึกษาที่สำคัญของไทยในปัจจุบัน(2546)นวัตกรรม เป็นความคิดหรือการกระทำใหม่ๆ ซึ่งนักวิชาการหรือผู้เชี่ยวชาญในแต่ละวงการจะมีการคิดและทำสิ่งใหม่อยู่เสมอ ดังนั้นนวัตกรรมจึงเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ได้เรื่อยๆ สิ่งใดที่คิดและทำมานานแล้ว ก็ถือว่าหมดความเป็นนวัตกรรมไป โดยจะมีสิ่งใหม่มาแทนในวงการศึกษาปัจจุบัน มีสิ่งที่เรียกว่านวัตกรรมทางการศึกษา หรือนวัตกรรมการเรียนการสอน อยู่เป็นจำนวนมาก บางอย่างเกิดขึ้นใหม่ บางอย่างมีการใช้มาหลายสิบปีแล้ว แต่ก็ยังคงถือว่าเป็น นวัตกรรม เนื่องจากนวัตกรรมเหล่านั้นยังไม่แพร่หลายเป็นที่รู้จักทั่วไป ในวงการศึกษาiนวัตกรรมทางการศึกษาต่างๆ ที่กล่าวถึงกันมากในปัจจุบัน




LMS คืออะไร
          LMS เป็นคำที่ย่อมาจาก Learning Management System หรือระบบการจัดการเรียนรู้ เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่บริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ จะประกอบด้วยเครื่องมืออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้สอน ผู้เรียน ผู้ดูแลระบบ โดยที่ผู้สอนนำเนื้อหาและสื่อการสอนขึ้นเว็บไซต์รายวิชาตามที่ได้ขอให้ระบบ จัดไว้ให้ได้โดยสะดวก ผู้เรียนเข้าถึงเนื้อหา กิจกรรมต่าง ๆ ได้โดยผ่านเว็บ ผู้สอนและผู้เรียนติดต่อ สื่อสารได้ผ่านทางเครื่องมือการสื่อสารที่ระบบจัดไว้ให้ เช่น ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ห้องสนทนา กระดานถาม - ตอบ เป็นต้น นอกจากนั้นแล้วยังมีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ การเก็บบันทึกข้อมูล กิจกรรมการเรียนของผู้เรียนไว้บนระบบเพื่อผู้สอนสามารถนำไปวิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลการเรียนการสอนในรายวิชานั้นอย่างมีประสิทธิภาพ

LMS ประกอบด้วย 5 ส่วน
  1. ระบบจัดการหลักสูตร (Course Management) กลุ่มผู้ใช้งานแบ่งเป็น 3 ระดับคือ ผู้เรียน ผู้สอน และผู้บริหารระบบ โดยสามารถเข้าสู่ระบบจากที่ไหน เวลาใดก็ได้ โดยผ่าน เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ระบบสามารถรองรับจำนวน user และ จำนวนบทเรียนได้ ไม่จำกัด โดยขึ้นอยู่กับ hardware/software ที่ใช้ และระบบสามารถรองรับการใช้งานภาษาไทยอย่างเต็ม
  2. ระบบการสร้างบทเรียน (Content Management) ระบบประกอบด้วยเครื่องมือในการช่วยสร้าง Content ระบบสามารถใช้งานได้ดีทั้งกับบทเรียนในรูป Text - based และบทเรียนใน รูปแบบ Streaming Media
  3. ระบบการทดสอบและประเมินผล (Test and Evaluation System) มีระบบคลังข้อสอบ โดยเป็นระบบการสุ่มข้อสอบสามารถจับเวลาการทำข้อสอบและการตรวจข้อสอบอัตโนมัติ พร้อมเฉลย รายงานสถิติ คะแนน และสถิติการเข้าเรียนของนักเรียน
  4. ระบบส่งเสริมการเรียน (Course Tools) ประกอบด้วยเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้สื่อสารระหว่าง ผู้เรียน - ผู้สอน และ ผู้เรียน - ผู้เรียน ได้แก่ Webboard และ Chatroom โดยสามารถเก็บ History ของข้อมูลเหล่านี้ได้
  5. ระบบจัดการข้อมูล (Data Management System) ประกอบด้วยระบบจัดการไฟล์และโฟลเ

วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ข่าวกระทำผิด พรบ. คอมพิวเตอร์


ตร.บุกจับเว็บประชาไททำผิดพรบ.คอมพ์


ตำรวจกองปราบปรามบุกจับเว็บไซต์ประชาไทแจ้งข้อหากระทำผิดมาตรา 15 พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์เผยแพร่ข้อมูลหมิ่นสถาบันเบื้องสูง ล่าสุดผู้ดูแลเว็บประชาไท ได้รับการประกันตัวแล้ว ขณะที่ เหล่านักวิชาการทยอยเดินทางเข้าให้กำลังใจอีกจำนวนหนึ่ง
ทั้งนี้ ขณะรายงานข่าว เจ้าหน้าที่ตำรวจ กำลังอยู่ระหว่างการตรวจค้น เพื่อยึดเครื่องคอมพิวเตอร์ และเอกสารที่เกี่ยวข้องไปดำเนินคดี ขณะที่ผู้ต้องหาเตรียมยื่นขอแประกันตัวแล้ว

ผู้สื่อข่าวรายงานความคืบหน้าล่าสุดจากกองปราบกรณีที่เจ้าหน้าที่ตำรวจนำหมายค้นและหมายจับไปควบคุมตัว น.ส. จีรนุช เปรมชัยพร ผู้ดูแลเว็บไซต์ประชาไท ซึ่งล่าสุดได้รับการประกันตัวแล้ว โดยมี นางฉันทนา บรรพศิริโชติ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นผู้เอาตำแหน่งเข้ายื่นประกันตัว โดยในขณะนี้ กระบวนการยื่นและตรวจสอบเอกสาร เพื่อยื่นประกันตัวได้เสร็จสิ้นลงแล้ว ซึ่ง น.ส. จีรนุช อยู่ระหว่างการพิมพ์ลายนิ้วมือ และทำประวัติ

อย่างไรก็ตาม เจ้าหน้าที่ตำรวจยังคงดำเนินการทำสำเนาข้อมูลจากฮาร์ดดิสของ น.ส. จีรนุช เพื่อทำการสืบสวนต่อไป ขณะที่บรรยากาศภายในกองปราบปราม มีกลุ่มนักศึกษาและกลุ่มผู้เล่นเว็บบอร์ด ประมาณ 50 คน เดินทางมาให้กำลังใจ น.ส. จีรนุช นอกจากนี้ยังมีญาติของ น.ส.จีรนุช นายเหวง โตจิราการ นายจอน อึ๊งภากรณ์ รวมถึงนักวิชาการ ได้แก่ นายวรเจตน์ ภาคีรัตน์ นายธีระ สุธีวรางกูร อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก็เดินทางมาให้กำลังใจด้วย
ทั้งนี้ ขณะรายงานข่าว เจ้าหน้าที่ตำรวจ กำลังอยู่ระหว่างการตรวจค้น เพื่อยึดเครื่องคอมพิวเตอร์ และเอกสารที่เกี่ยวข้องไปดำเนินคดี ขณะที่ผู้ต้องหาเตรียมยื่นขอแประกันตัวแล้ว
ผู้สื่อข่าวรายงานความคืบหน้าล่าสุดจากกองปราบกรณีที่เจ้าหน้าที่ตำรวจนำหมายค้นและหมายจับไปควบคุมตัว น.ส. จีรนุช เปรมชัยพร ผู้ดูแลเว็บไซต์ประชาไท ซึ่งล่าสุดได้รับการประกันตัวแล้ว โดยมี นางฉันทนา บรรพศิริโชติ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นผู้เอาตำแหน่งเข้ายื่นประกันตัว โดยในขณะนี้ กระบวนการยื่นและตรวจสอบเอกสาร เพื่อยื่นประกันตัวได้เสร็จสิ้นลงแล้ว ซึ่ง น.ส. จีรนุช อยู่ระหว่างการพิมพ์ลายนิ้วมือ และทำประวัติ

อย่างไรก็ตาม เจ้าหน้าที่ตำรวจยังคงดำเนินการทำสำเนาข้อมูลจากฮาร์ดดิสของ น.ส. จีรนุช เพื่อทำการสืบสวนต่อไป ขณะที่บรรยากาศภายในกองปราบปราม มีกลุ่มนักศึกษาและกลุ่มผู้เล่นเว็บบอร์ด ประมาณ 50 คน เดินทางมาให้กำลังใจ น.ส. จีรนุช นอกจากนี้ยังมีญาติของ น.ส.จีรนุช นายเหวง โตจิราการ นายจอน อึ๊งภากรณ์ รวมถึงนักวิชาการ ได้แก่ นายวรเจตน์ ภาคีรัตน์ นายธีระ สุธีวรางกูร อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก็เดินทางมาให้กำลังใจด้วย
ผู้สื่อข่าวรายงานความคืบหน้าล่าสุดจากกองปราบกรณีที่เจ้าหน้าที่ตำรวจนำหมายค้นและหมายจับไปควบคุมตัว น.ส. จีรนุช เปรมชัยพร ผู้ดูแลเว็บไซต์ประชาไท ซึ่งล่าสุดได้รับการประกันตัวแล้ว โดยมี นางฉันทนา บรรพศิริโชติ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นผู้เอาตำแหน่งเข้ายื่นประกันตัว โดยในขณะนี้ กระบวนการยื่นและตรวจสอบเอกสาร เพื่อยื่นประกันตัวได้เสร็จสิ้นลงแล้ว ซึ่ง น.ส. จีรนุช อยู่ระหว่างการพิมพ์ลายนิ้วมือ และทำประวัติ
อย่างไรก็ตาม เจ้าหน้าที่ตำรวจยังคงดำเนินการทำสำเนาข้อมูลจากฮาร์ดดิสของ น.ส. จีรนุช เพื่อทำการสืบสวนต่อไป ขณะที่บรรยากาศภายในกองปราบปราม มีกลุ่มนักศึกษาและกลุ่มผู้เล่นเว็บบอร์ด ประมาณ 50 คน เดินทางมาให้กำลังใจ น.ส. จีรนุช นอกจากนี้ยังมีญาติของ น.ส.จีรนุช นายเหวง โตจิราการ นายจอน อึ๊งภากรณ์ รวมถึงนักวิชาการ ได้แก่ นายวรเจตน์ ภาคีรัตน์ นายธีระ สุธีวรางกูร อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก็เดินทางมาให้กำลังใจด้วย
อย่างไรก็ตาม เจ้าหน้าที่ตำรวจยังคงดำเนินการทำสำเนาข้อมูลจากฮาร์ดดิสของ น.ส. จีรนุช เพื่อทำการสืบสวนต่อไป ขณะที่บรรยากาศภายในกองปราบปราม มีกลุ่มนักศึกษาและกลุ่มผู้เล่นเว็บบอร์ด ประมาณ 50 คน เดินทางมาให้กำลังใจ น.ส. จีรนุช นอกจากนี้ยังมีญาติของ น.ส.จีรนุช นายเหวง โตจิราการ นายจอน อึ๊งภากรณ์ รวมถึงนักวิชาการ ได้แก่ นายวรเจตน์ ภาคีรัตน์ นายธีระ สุธีวรางกูร อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก็เดินทางมาให้กำลังใจด้วย


ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เมื่อสักครู่ที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่ตำรวจกองปราบปราม พร้อมด้วยหมายค้น และหมายจับ เดินทางไปที่ สำนักงานเว็บไซต์ ประชาไท โดยแจ้งข้อกล่าวหา กระทำผิดมาตรา 15 พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์เผยแพร่ข้อมูลในเว็บไซต์ โดยมีเนื้อหาหมิ่นสถาบัน จากการสอบถาม นายชูวัส ฤกษ์ศิริสุข บรรณธิการ กล่าวว่า ตนเองเข้าใจว่าประเด็นที่เจ้าหน้าที่ตำรวจจับกุมในครั้งนี้ น่าจะเกิดจากการที่มีผู้เข้ามาโพสต์ข้อความในเว็บบอร์ด ซึ่งมีข้อความเป็นจำนวนมาก อาจลบไม่ทัน จึงเกิดปัญหาขึ้น




ที่มา http://www.thaibizcenter.com/hotnewsdetail.asp?newsid=2461





สรุปข่าว  ตำรวจกองปราบปรามบุกจับ น.ส. จีรนุช เปรมชัยพร ผู้ดูแลเว็บไซต์ประชาไทแจ้งข้อหากระทำผิดมาตรา 15 พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์เผยแพร่ข้อมูลหมิ่นสถาบันเบื้องสูง จากการสอบถาม นายชูวัส ฤกษ์ศิริสุข บรรณธิการ กล่าวว่า ตนเองเข้าใจว่าประเด็นที่เจ้าหน้าที่ตำรวจจับกุมในครั้งนี้ น่าจะเกิดจากการที่มีผู้เข้ามาโพสต์ข้อความในเว็บบอร์ด ซึ่งมีข้อความเป็นจำนวนมาก อาจลบไม่ทัน จึงเกิดปัญหาขึ้น


ผู้ต้องหากระทำผิด มาตรา 15 ผู้ใดกระทำความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

วิธัีป้องกัน ไม่ควรโพสข้อความที่ตนเองไม่มีข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เพียงพอในสื่อข่าวต่างๆ




วันพฤหัสบดีที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2555

Sontaya





ประวัติส่วนตัว


ชื่อ นายสนธยา สุวรรณชัยฉัตร์ ชื่อเล่น บอล  อายุ 22 ปี                                                                            


รหัส 53110010466 วิชาเอก ดนตรีศึกษา-ดนตรีสากล 


เครื่องมือ เอก Euphonium  จบจาก โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบางขุนเทียน 


เกิดวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2533


ที่อยู่ 167/65 แขวงแสมดำ ถนนพระราม2 เขตบางขุนเทียน กทม. 10150


อนคตอยากรับราชการเป็นครู 


ความคาดหวังของวิชานี้ คือ ต้องการใช้สื่อในการประกอบการเรียนการสอนในอนาคตได้เมื่อต้องสอนนักเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในการเรียนมากขึ้น